การบริโภค การใช้ประโยชน์ในทางเศรษฐศาสตร์
1.การบริโภคที่สิ้นเปลือง หมดไป : อาหาร น้ำมันเชื้อเพลิง
2.การบริโภคที่ไม่สิ้นเปลือง : ใช้ซ้ำได้เรื่อยๆ ; เสื้อผ้า
ของใช้ต่างๆ
ปัจจัยที่ควบคุม : มีสินค้าให้บริโภคหรือไม่ , รายได้ของผู้บริโภค ,
ความรู้ความสามารถของผู้บริโภค(การนำมาใช้ประโยชน์)
การกระจาย การจำหน่ายจ่ายแจกสินค้าออกไปยังผู้บริโภค
1.กระจายสินค้า : กระจายการผลิตและผลผลิต
2.กระจายรายได้ : กระจายผลตอบแทนจากการผลิตและผลผลิต
ปัจจัยที่ควบคุม : สภาพภูมิศาสตร์ ความรู้ความสามารถของผู้กระจาย
อุปสงค์อุปทานในภูมิภาค
การแลกเปลี่ยน
1.การแลกเปลี่ยนโดยตรง(การค้าต่างตอบแทน) Bather System : การนำเอาผลผลิตมาแลกเปลี่ยนกัน
2.ใช้เงินเป็นสื่อกลาง Money System : ใช้เงินซื้อขาย
3.ใช้สินเชื่อ บัตรเครดิต Credit System : สถาบันการเงินวางใจที่จะออกเงินให้ก่อน
แล้วค่อยมาผ่อน
*การค้าแบบหักบัญชี Account Trade : ผสมผสาน 3 แบบเข้าด้วยกัน
โดยการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่าง 2 ฝ่ายและบันทึกเอาไว้ พอครบรอบที่กำหนด
ก็มาดูส่วนต่าง และจ่ายส่วนต่างให้อีกฝ่าย
ตลาด: (ผู้ซื้อ+ผู้ขาย+สินค้า)
ที่ๆผู้ซื้อและผู้ขายใช้ตกลงแลกเปลี่ยนกัน
1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีผู้ขายจำนวนมากราย มีสินค้าที่คล้ายๆกัน
คุณภาพใกล้เคียงกันให้ได้เลือกซื้อ ใช้กลไกตลาดอย่างเต็มที่ ; ไม่มีอยู่จริง
ที่ใกล้เคียงถือว่าเป็น คือ ตลาดพืชผลทางการเกษตร ตลาดหลักทรัพย์
2.ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ : ผูกขาด
; เนื่องมาจากสัมปทาน กฎหมายคุ้มครอง (ไฟฟ้า ประปา)
กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
; สร้างความพอใจให้ลูกค้าไม่เท่ากัน
ผู้ขายน้อยราย ; ต้องลงทุนมาก
มีการผลิตมาก (เครือข่ายมือถือ)
วงจรเศรษฐกิจ อ่านในเล่ม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น